มี.ค. 2019 หดตัวที่ -4.9%YOY ต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่
การส่งออกของไทยยังไม่มีสัญญาณฟื้นตัว
- การหดตัวของมูลค่าส่งออกมีทิศทางกระจายตัวมากขึ้น (more broad-based) โดยสัดส่วนมูลค่าส่งออกที่มีการ
หดตัวในช่วงไตรมาสแรกของปี 2019 ปรับเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนหากเทียบกับช่วงก่อนหน้า ทั้งในมิติของรายสินค้าและรายตลาดส่งออก (รูปที่ 1) สะท้อนว่า การส่งออกยังคงได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกต่อเนื่องและกระจายตัวมากขึ้น ทำให้ยังไม่เห็นสัญญาณฟื้นตัวในภาคการส่งออกของไทย - สินค้าส่งออกของไทยที่เป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานในการผลิตสินค้าส่งออกของจีนไปยังสหรัฐฯ ที่ได้รับผลจากการขึ้นภาษีของสหรัฐฯ ยังคงได้รับผลกระทบต่อเนื่อง โดยสินค้าส่งออกไปจีนประเภท 1) เครื่องคอมพิวเตอร์-อุปกรณ์และส่วนประกอบ 2) หมวดแผงวงจรไฟฟ้า 3) ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ และ 4) เคมีภัณฑ์ ในเดือนมีนาคม 2019 ยังคงหดตัวในระดับสูงที่ -37.6%YOY -45.2%YOY -29.3%YOY และ -15.5%YOY ตามลำดับ ซึ่งเป็นอัตราหดตัวที่ใกล้เคียงกับช่วงก่อนหน้า สะท้อนว่า ยังไม่มีสัญญาณฟื้นตัวจากสินค้าที่ได้รับผลกระทบจากสงครามการค้า
การส่งออกของไทยยังไม่มีสัญญาณฟื้นตัว
- การหดตัวของมูลค่าส่งออกมีทิศทางกระจายตัวมากขึ้น (more broad-based) โดยสัดส่วนมูลค่าส่งออกที่มีการ
หดตัวในช่วงไตรมาสแรกของปี 2019 ปรับเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนหากเทียบกับช่วงก่อนหน้า ทั้งในมิติของรายสินค้าและรายตลาดส่งออก (รูปที่ 1) สะท้อนว่า การส่งออกยังคงได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกต่อเนื่องและกระจายตัวมากขึ้น ทำให้ยังไม่เห็นสัญญาณฟื้นตัวในภาคการส่งออกของไทย - สินค้าส่งออกของไทยที่เป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานในการผลิตสินค้าส่งออกของจีนไปยังสหรัฐฯ ที่ได้รับผลจากการขึ้นภาษีของสหรัฐฯ ยังคงได้รับผลกระทบต่อเนื่อง โดยสินค้าส่งออกไปจีนประเภท 1) เครื่องคอมพิวเตอร์-อุปกรณ์และส่วนประกอบ 2) หมวดแผงวงจรไฟฟ้า 3) ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ และ 4) เคมีภัณฑ์ ในเดือนมีนาคม 2019 ยังคงหดตัวในระดับสูงที่ -37.6%YOY -45.2%YOY -29.3%YOY และ -15.5%YOY ตามลำดับ ซึ่งเป็นอัตราหดตัวที่ใกล้เคียงกับช่วงก่อนหน้า สะท้อนว่า ยังไม่มีสัญญาณฟื้นตัวจากสินค้าที่ได้รับผลกระทบจากสงครามการค้า
อีไอซีปรับลดคาดการณ์มูลค่าส่งออกปี 2019 ที่ 2.7% จากคาดการณ์เดิมที่ 3.4% จากหลายปัจจัยได้แก่
- เศรษฐกิจคู่ค้าที่มีแนวโน้มชะลอตัวมากกว่าที่คาด สอดคล้องกับรายงานล่าสุดของ IMF WEO ที่ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจโลกในปี 2019 เหลือ 3.3% จากประมาณการครั้งก่อนหน้าที่ 3.5%
- ราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยทั้งปี 2019 ที่มีแนวโน้มหดตัวเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า (อีไอซีคาดว่า จะหดตัวประมาณ -7%) ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปและเคมีภัณฑ์จะมีทิศทางชะลอตัว
- อีไอซีมองว่า ในครึ่งปีหลังของปี 2019 การส่งออกสินค้าไทยมีโอกาสฟื้นตัวจากการปรับตัวดีขึ้นของภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของหลายประเทศที่จะได้รับอานิสงค์จากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ เช่น มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของจีน รวมถึงท่าทีของหลายธนาคารกลางที่มีความ Dovish มากขึ้น ซึ่งมีส่วนสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจในระยะต่อไป นอกจากนี้ ปัจจัยฐานต่ำในช่วงครึ่งหลังของปี 2018 ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มได้รับผลกระทบจากสงครามการค้า จะมีส่วนช่วยให้อัตราเติบโตของมูลค่าส่งออกปรับตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2019
- ทั้งนี้ภาคการส่งออกยังคงมีความเสี่ยงด้านต่ำ ได้แก่ 1) สงครามการค้าที่อาจกลับมาตึงเครียดอีกครั้ง และ
2) เศรษฐกิจโลกที่อาจเติบโตได้น้อยกว่าที่คาด แม้จะมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในหลายประเทศอีไอซีปรับลดประมาณการการขยายตัวของมูลค่านำเข้าในปี 2019 จาก 3.6% เป็น 3.2% ตามการนำเข้าวัตถุดิบและสินค้ าทุนที่เกี่ยวข้องกับการส่ งออกที่มีแนวโน้มชะลอลง ประกอบกับแนวโน้ มการลดลงของราคาน้ำมันดิบเฉลี่ย
ในปี 2019 ที่จะส่งผลต่อการขยายตัวของมูลค่านำเข้าสินค้าเชื้อเพลิง ทำให้คาดว่าการนำเข้าทั้งปี 2019 จะมีทิศทางชะลอลงจากปี 2018 ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของไทยรายสินค้า
%YoY สัดส่วน (ปี 2018)
2018 Feb-19 Mar-19 YTD รวมทั้งสิ้น 100.0% 6.7% -3.4%* -4.9% -4.7% 1. สินค้าเกษตรกรรม 9.2% 0.9% -5.6% 5.6% -0.6% 2. สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร 7.1% 4.8% 5.5% 0.3% 0.5% 3. สินค้าอุตสาหกรรม 79.3% 6.6% -5.3%* -6.0% -5.3% 3.1 เครื่องใช้ไฟฟ้า 9.6% 3.7% 1.5% -0.2% 0.0% 3.2 เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ 15.2% 4.4% -10.2% -17.1% -12.3% 3.3 เม็ดพลาสติก 4.1% 19.1% -4.4% -8.3% -7.2% 3.4 เคมีภัณฑ์ 3.6% 23.0% -5.2% -8.3% -7.0% 3.5 ผลิตภัณฑ์ยาง 4.4% 7.5% 9.0% 14.8% 7.6% 3.6 ยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 14.9% 10.0% -15.2% 5.2% -6.6% 4. สินค้าแร่และเชื้อเพลิง 4.4% 28.2% -12.0% -1.2% -7.2% 4.1 น้ำมันสำเร็จรูป 3.7% 29.7% -10.6% -0.1% -5.8% หมายเหตุ : ไม่รวมมูลค่าการส่งออกอาวุธกลับไปยังสหรัฐฯ
ตารางที่ 2 อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของไทยรายตลาดสำคัญ
%YoY สัดส่วน 2018 Feb-19 Mar-19 YTD รวมทั้งโลก 100.0% 6.7% -3.4%* -4.9% -4.7% ASEAN5 15.5% 13.4% 2.8% -15.6% -7.5% จีน 12.0% 2.3% -1.5% -9.0% -9.2% CLMV 11.6% 16.6% -0.4% 0.3% 0.2% สหรัฐฯ 11.1% 5.4% 5.0%* -1.4% 3.7% ญี่ปุ่น 9.9% 13.0% -11.4% 7.4% -1.6% EU15 9.0% 5.0% -12.2% -2.6% -6.5% ฮ่องกง 5.0% 1.8% -12.0% -14.2% -13.6% ตะวันออกกลาง 3.4% -5.0% -14.2% 0.4% -7.0% ดย : พนันดร อรุณีนิรมาน (panundorn.aruneeniramarn@scb.co.th)
จิรายุ โพธิราช (jirayu.photirat@scb.co.th)
Economic Intelligence Center (EIC)
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
EIC Online: www.scbeic.com
- การหดตัวของมูลค่าส่งออกมีทิศทางกระจายตัวมากขึ้น (more broad-based) โดยสัดส่วนมูลค่าส่งออกที่มีการ